“มุ่งมั่นพัฒนาให้ได้มาตรฐาน บริหารงานให้ได้ผล จุดมุ่งหมายคือตำบล ประชาชนได้รับคุณค่า ในการพัฒนาที่ยั่งยืน”

แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน


แผนพัฒนาท้องถิ่น ๔ ปี
(พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๔)
ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระชับ  อำเภอนครชัยศรี  จังหวัดนครปฐม

-----------------------------------

ส่วนที่ ๑ สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
               ๑. ด้านกายภาพ
                   ๑.๑ ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล
                             องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระชับ  ตั้งอยู่เลขที่ ๒ หมู่ที่ ๒ ตำบลท่ากระชับ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม และตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอนครชัยศรี มีระยะห่างจากตัวอำเภอนครชัยศรีประมาณ ๖กิโลเมตร  มีเนื้อที่ทั้งหมด จำนวน๓,๙๔๔ ไร่ หรือประมาณ๖.๓๑ ตารางกิโลเมตร
                   ๑.๒ ลักษณะภูมิประเทศ
                             สภาพภูมิประเทศขององค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระชับพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม
          อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ         ติดต่อ  ตำบลบางแก้ว , ตำบลท่าพระยา อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
          ทิศตะวันออก    ติดต่อ  ตำบลบางแก้ว อำเภอนครชัยศรี  จังหวัดนครปฐม
          ทิศตะวันตก     ติดต่อ  ตำบลท่าพระยาและตำบลบางระกำ    อำเภอนครชัยศรี  จังหวัดนครปฐม
ทิศใต้              ติดต่อ   ตำบลโคกพระเจดีย์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐมและ
ตำบลคลองใหม่   อำเภอสามพราน  จังหวัดนครปฐม        
                   ๑.๓ ลักษณะภูมิอากาศ
                          ภูมิอากาศโดยทั่วไปตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม มีฝนตกชุกในฤดูฝน ในฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัด ส่วนในฤดูร้อนอากาศค่อนข้างร้อน โดยฝนจะตกชุกมากในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ส่วนฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม  โดยจะมีอากาศหนาวเย็นเป็นช่วง ๆ
๑.๔ลักษณะของแหล่งน้ำ
สภาพแหล่งน้ำธรรมชาติ
-        ลำคลอง                                           จำนวน  ๑๐สาย

สภาพแหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
-        บ่อน้ำบาดาล                                      จำนวน  ๑๔ แห่ง
-   หอถังน้ำประปา คสล.                            จำนวน  ๑๔แห่ง
               . ด้านการเมือง/การปกครอง
                   ๒.๑ เขตการปกครอง
เขตปกครอง รวม ๔หมู่บ้าน  คือ
หมู่ที่ ๑บ้านตลาดวัดไทร           ผู้ปกครอง   นายเทวา  มีใจบุญ            ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ ๒   บ้านตลาดบน           ผู้ปกครอง   รต.ชุมแสง  แฟงมาก         ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ ๓   บ้านไผ่นอก              ผู้ปกครอง   นายฤทธิ์รงค์  บัวทอง        กำนันตำบลท่ากระชับ
หมู่ที่ ๔   บ้านคลองทางหลวง    ผู้ปกครอง   นายใจ  วงศ์สวรรค์           ผู้ใหญ่บ้าน      
               . ประชากร
                   ๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
                             องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระชับมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด ๑,๐๕๘ ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด ๓,๙๗๐ คน เป็นชาย ๑,๙๐๒ คน เป็นหญิง๒,๐๖๘  คน มีความหนาแน่นโดยเฉลี่ย ๖๒๙.๑๖ คน / ตารางกิโลเมตร ( ข้อมูล    วันที่  ๑๖  พฤษภาคม  ๒๕๕๙ )
หมู่ที่
ครัวเรือน
ชาย
หญิง
รวม
๔๐๘
๗๒๑
๗๘๒
๑,๕๐๓
๑๙๙
๒๘๒
๓๒๖
๖๐๘
๒๒๐
๔๑๔
๔๗๐
๘๘๔
๒๓๑
๔๘๕
๔๙๐
๙๗๕
รวม
 ๑,๐๕๘
๑,๙๐๒
๒,๐๖๘
๓,๙๗๐
                  





                   ๓.๒ ช่วงอายุและจำนวนประชากร
ประชากรแยกตามอายุ  ( ข้อมูล    วันที่  ๑๖  พฤษภาคม  ๒๕๕๙ )                                          
แยกหมู่
หมู่ที่ ๑
บ้านตลาดวัดไทร
หมู่ที่ ๒
บ้านตลาดบน
หมู่ที่ ๓
บ้านไผ่นอก
หมู่ที่ ๔
บ้านคลองทางหลวง
เพศ อายุ
ช.
ญ.
รวม
ช.
ญ.
รวม
ช.
ญ.
รวม
ช.
ญ.
รวม
๐-๔
 ๔๐
๔๑
๘๑
๑๐
๒๐
๓๐
๓๒
๒๒
๕๔
๓๑
๓๑
๖๒
๕-๙
๓๔
๓๗
๗๑
๑๕
๑๔
๒๙
๒๖
๒๕
๕๑
๓๕
๒๕
๖๐
๑๐-๑๔
๔๔
๓๙
๘๓
๑๔
๑๑
๒๕
๒๕
๒๓
๔๘
๓๕
๒๔
๕๙
๑๕-๑๙
 ๖๑
๓๘
๙๙
๑๓
๑๖
๒๙
๒๖
๓๗
๖๓
๒๗
๒๗
 ๕๔
๒๐-๒๔
๕๒
๕๓
๑๐๕
๒๓
๑๖
๓๙
 ๓๑
๔๑
๗๒
๓๑
๓๖
๖๗
๒๕-๒๙
๔๘
๔๘
๙๖
๑๐
๑๙
 ๒๙
๓๖
๓๕
๗๑
๓๑
๓๙
๗๐
๓๐-๓๔
๖๖
๕๓
๑๑๙
๒๗
๒๔
๕๑
๓๒
๒๘
๖๐
๔๔
๒๖
๗๐
๓๕-๓๙
๕๒
๔๙
๑๐๑
๓๐
๒๙
 ๕๙
๒๓
๓๕
 ๕๘
๓๕
๓๑
๖๖
๔๐-๔๔
๕๖
๖๒
๑๑๘
 ๒๐
๒๑
๔๑
๓๘
๓๖
๗๔
 ๔๐
๓๖
๗๖
๔๕-๔๙
๕๘
๖๔
๑๒๒
๒๐
๑๖
 ๓๖
๓๓
๔๗
๘๐
๔๓
๔๘
๙๑
๕๐-๕๔
๖๖
๙๒
๑๕๘
๒๖
๒๒
๔๘
๓๒
๔๖
๗๘
๓๐
๔๖
๗๖
๕๕-๕๙
๖๐
 ๖๗
๑๒๗
๒๐
๓๗
๕๗
๑๘
๒๖
๔๔
๒๕
๓๒
๕๗
๖๐-๖๔
๒๙
๓๙
๖๘
๑๓
๒๐
๓๓
๑๙
๒๐
๓๙
๒๔
๒๐
๔๔
๖๕-๖๙
๑๙
๒๓
๔๒
๑๖
๒๐
๓๖
๑๘
๒๐
๓๘
๑๖
๒๘
๔๔
๗๐ปีขึ้นไป
๓๖
๗๗
๑๑๓
๒๕
๔๑
๖๖
๒๘
๒๙
๕๗
๓๘
๔๑
๗๙
รวม
๗๒๑
๗๘๒
๑,๕๐๓
๒๘๒
๓๒๖
๖๐๘
๔๑๔
๔๗๐
๘๘๔
๔๘๕
๔๙๐
๙๗๕

               . สภาพทางสังคม        
                   ๔.๑ การศึกษา
๑.     ศูนย์เด็กเล็ก                                            จำนวน  ๒แห่ง
๒.     โรงเรียนประถมศึกษา                                 จำนวน  ๒แห่ง
๓.     ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน           จำนวน  ๒แห่ง
ประชาชนส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาและมีฐานะปานกลางสามารถส่งบุตรหลานศึกษาต่อใน           ระดับมัธยม, อาชีวศึกษา และอุดมศึกษาได้
๔.๒สาธารณสุข
-      โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)                  จำนวน    แห่ง
-  สถานพยาบาลเอกชน                                           จำนวน    แห่ง
                   ๔.๓ การสังคมสงเคราะห์        
                         -  เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
                         -  เบี้ยยังชีพผู้พิการ
               ๕. ระบบบริการพื้นฐาน
                   ๕.๑ การไฟฟ้า
-  อัตราการใช้ไฟฟ้าของหมู่บ้าน คิดเป็นอัตรา ร้อยละ ๑๐๐
                   ๕.๒ การประปา
    -  อัตราการใช้ไฟฟ้าของหมู่บ้าน คิดเป็นอัตรา ร้อยละ ๑๐๐
                   ๕.๓โทรศัพท์
-  โทรศัพท์สาธารณะ                                                จำนวน ๘แห่ง
               ๖. ระบบเศรษฐกิจ
                   ๖.๑ การเกษตร
                           ประชากรในตำบล มีอาชีพเลี้ยงปลาทำสวน ทำนา  เลี้ยงสัตว์  โดยเฉพาะสุกร
๖.๒อุตสาหกรรม
-   โรงงานอุตสาหกรรมขนาดย่อม (SME)                         จำนวน  ๕แห่ง
                   ๖.๓ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
·       อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร)                       จำนวน  ๔๔คน
·       กลุ่มสตรี                                        ๑กลุ่ม               จำนวน   ๖๕คน
·       กลุ่มออมทรัพย์                                ๔กลุ่ม               จำนวน ๔๐๐คน
·       กลุ่มอสม.                                      ๑กลุ่ม               จำนวน   ๕๘คน
·       กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ                            ๑กลุ่ม               จำนวน  ๒๖๑คน
·       กลุ่มกองทุนสวัสดิการชุมชน ต.ท่ากระชับ   ๑กลุ่ม               จำนวน ๑,๒๗๙คน
               . เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
                   ๗.๑ ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน
ประชากรส่วนใหญ่  ประกอบอาชีพทาง การเกษตร  โดยมีอาชีพเลี้ยงปลา ทำสวน ทำนา  เลี้ยงสัตว์  โดยเฉพาะสุกร  นอกจากนี้ยังมีอาชีพค้าขาย รับจ้าง และรับราชการโดยเฉลี่ยแล้วประชากรมีรายได้ประมาณ ๒๕,๐๐๐.- บาท/ปี
                   ๗.๒ ข้อมูลด้านการเกษตร
                           การประกอบอาชีพทาง การเกษตร  โดยมีอาชีพเลี้ยงปลา ทำสวน ทำนา  เลี้ยงสัตว์  โดยเฉพาะสุกร
                   ๗.๓ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
·       ลำคลอง                                           จำนวน  ๑๐สาย
                   ๗.๔ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)
·       บ่อน้ำบาดาล                                       จำนวน  ๑๔ แห่ง
·       หอถังน้ำประปา คสล.                            จำนวน  ๑๔แห่ง
               ๘. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
                   ๘.๑ การนับถือศาสนา
                         ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
                   ๘.๒ ประเพณีและงานประจำปี
·       วันลอยกระทง
·       วันพ่อแห่งชาติ
·       วันเด็กแห่งชาติ
·       วันสงกรานต์
·       วันแม่แห่งชาติ
               ๙. ทรัพยากรธรรมชาติ
                   ๙.๑ น้ำ
·       ลำคลอง                                           จำนวน  ๑๐สาย












ส่วนที่ ๒ สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นตามแผนพัฒนาท้องถิ่น
               ๑. สรุปผลการดำเนินงานตามงบประมาณที่ได้รับ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
                ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙
                   ๑.๑ สรุปสถานการณ์การพัฒนา การตั้งงบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณ 
สรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณพ..2559
ลำดับที่
โครงการ/กิจกรรม
งบประมาณ
ที่มา
       ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน


1.
โครงการจ้างเหมาซ่อมแซมหอถังประปาบาดาล หมู่ที่1,2
32,400.00
อบต.
2.
โครงการจ้างเหมาซ่อมแซมหอถังประปาบาดาล หมู่ที่2 (บริเวณสนามกีฬา)
16,830.00
อบต.
3.
โครงการจ้างเหมาซ่อมแซมหอถังประปาบาดาล หมู่ที่๑ บ้านนายสิงห์ (ป้าเจือ)
9,000.00
อบต.
4.
โครงการจ้างเหมาซ่อมแซมหอถังประปาบาดาล หมู่ที่๒ (บริเวณสนามกีฬา)
19,100.00
อบต.
5.
โครงการจ้างเหมาติดตั้งสายไฟฟ้า เพื่อใช้ในการติดตั้งเครื่องสูบน้ำ บริเวณ
หอถังประปาศาลตาถึงประตูน้ำ หมู่ที่๑
29,500.00
อบต.
6.
โครงการจ้างเหมาเดินสายไฟฟ้า พร้อมติดตั้งโคมไฟสาธารณะ บริเวณซอย
บ้านนางกิ่มหมู่ที่๑
18,400.00
อบต.
7.
โครงการจ้างเหมาตอกเสาเข็มไม้ยูคา ป้องกันการพังทลายของไหล่ทาง บริเวณ
ถนนสายเลียบคลองหลังเมรุ หมู่ที่๑
23,600.00
อบต.
8.
โครงการจ้างเหมาตอกเสาเข็มไม้ยูคา ป้องกันการพังทลายของไหล่ทาง บริเวณถนนสายเลียบคลองบ้านผู้ใหญ่เสวียน หมู่ที่๓ และถนนสายเลียบคลองบ้านนายมูล
เชื้อแถว หมู่ที่๔
14,400.00
อบต.
9.
โครงการจ้างเหมาปรับปรุงซ่อมแซมท่อเมนประปา PVC บริเวณบ้านนายอุดม
แช่มมั่นคง หมู่ที่๓
23,000.00
อบต.
10.
โครงการจ้างเหมาขุดลอกคลอง (รถแบ็คโฮ) สายคลอง หมู่ที่๑
92,000.00
อบต.
11.
โครงการจ้างเหมาเสริมปากบ่อพักระบายน้ำ คสล. พร้อมลงหินคลุกเสริมไหล่ทาง
13,800.00
อบต.
12.
โครงการจ้างเหมาขุดลอกคลอง (รถแบ็คโฮ) สายคลอง หมู่ที่1,3,4
94,000.00
อบต.
13.
โครงการจ้างเหมาฝังท่อระบายน้ำคสล.บริเวณหน้าโรงเรียนคลองทางหลวง หมู่ที่๔
15,400.00
อบต.
14.
โครงการจ้างเหมาก่อสร้างประปาหมู่บ้านแบบบาดาล หมู่ที่๑
1,790,000.00
อบต.
ลำดับที่
โครงการ/กิจกรรม
งบประมาณ
ที่มา
15.
โครงการจ้างเหมาขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล พร้อมย้ายและติดตั้งเครื่องสูบน้ำชนิดใต้น้ำ (ซัมเมอร์ส) พร้อมอุปกรณ์
825,000.00
อบต.
16.
โครงการจ้างเหมาก่อสร้างถนน คสล. พร้อมรางระบายน้ำ คสล. หมู่ที่๑
268,700.00
อบต.
17.
โครงการจ้างเหมาปรับปรุงซ่อมแซมระบบส่งน้ำประปาบาดาล หมู่ที่1,3
800,000.00
อบต.
18.
โครงการจ้างเหมาก่อสร้างวางท่อเมนประปา PVC หมู่ที่๒
197,000.00
อบต.
19.
โครงการจ้างเหมาลงหินคลุกซ่อมแซมผิวจราจร จำนวน ๔ สายทาง หมู่ที่1,4
140,000.00
อบต.
20.
โครงการจัดซื้อท่อสูบน้ำสเตนแลสพร้อมมอเตอร์ และชุดควบคุมไฟฟ้า
348,180.00
อบต.
21.
จัดซื้อกล้องระดับ
31,000.00
อบต.
22.
จัดซื้อวัสดุก่อสร้าง
42,000.00
อบต.
23.
จัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
33,712.00
อบต.
24.
จัดซื้อวัสดุประปา
174,212.00
อบต.

          รวมงบประมาณ
5,051,234.00

   ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ

1.
โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนกลุ่มอาชีพเลี้ยงปลา หมู่ที่๔
100,000.00
อบต.
2.
โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนกลุ่มอาชีพเลี้ยงปลา หมู่ที่๓
100,000.00
อบต.
3.
โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนกลุ่มอาชีพเกษตรผสมผสาน หมู่ที่๒
100,000.00
อบต.
4.
โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนกลุ่มอาชีพเพาะเลี้ยงเห็ด,ตัดเย็บเสื้อผ้า,
ค้าขาย,นวดแผนไทย หมู่ที่๑
100,000.00
อบต.
5.
จัดซื้อวัสดุการเกษตร
70,007.00
อบต.

          รวมงบประมาณ
470,007.00

   ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

1.
โครงการสนับสนุนอาหารกลางวันให้กับเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
542,940.00
อบต.
2.
โครงการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนให้กับ ศพด.และโรงเรียน
229,300.00
อบต.
3.
โครงการสนับสนุนอาหารเสริม(นม) ให้กับเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
และสนับสนุนอาหารเสริม(นม)ให้กับเด็กนักเรียนของโรงเรียนภายในตำบล
1,206,248.20
อบต.
4.
โครงการสนับสนุนอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนของโรงเรียนภายในตำบล
2,320,000.00
อบต.
ลำดับที่
โครงการ/กิจกรรม
งบประมาณ
ที่มา
5.
โครงการวันลอยกระทง
50,000.00
อบต.
6.
โครงการวันพ่อแห่งชาติ
80,000.00
อบต.
7.
โครงการวันเด็กแห่งชาติ
59,375.00
อบต.
8.
โครงการวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
39,100.00
อบต.
9.
โครงการวันแม่แห่งชาติ
15,170.00
อบต.

          รวมงบประมาณ
4,542,133.20

       ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม

1.
โครงการจัดหาเวชภัณฑ์ และวัสดุการแพทย์ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคต่างๆ
23,500.00
อบต.
2.
โครงการซ่อมแซมระบบกล้องวงจรปิด
100,550.00
อบต.
3.
โครงการประชุมประชาคมจัดทำแผนพัฒนา
6,682.00
อบต.
4.
โครงการแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง อบต.
50,000.00
อบต.
5.
โครงการจ้างเหมาปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้แก่คนพิการ
20,000.00
อบต.
6.
จ้างเหมาซ่อมแซมประปาภายในตำบล
115,730.00
อบต.
7.
จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์/อุปกรณ์กีฬา ให้กับชุมชน
29,520.00
อบต.
8.
โครงการตรวจ คัดกรอง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และอัมพฤกษ์ อัมพาต
12,500.00
สปสช.
9.
โครงการสร้างแกนนำตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
8,400.00
สปสช.
10.
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกำจัดเหาในเด็กวัยเรียน
27,600.00
สปสช.
11.
โครงการควบคุมและป้องกันโรคฟันผุ ในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
17,140.00
สปสช.
12.
โครงการพัฒนาแกนนำดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน
24,000.00
สปสช.
13.
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
84,000.00
สปสช.
14.
โครงการสร้างแกนนำดูแลสุขภาพผู้มีข้อเข่าเสื่อมและผู้ป่วยติดเตียง
24,000.00
สปสช.
15.
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อแก้ภาวะโภชนาการเกิน
19,150.00
สปสช.

รวมงบประมาณ
562,772.00




ลำดับที่
โครงการ/กิจกรรม
งบประมาณ
ที่มา
  ยุทธศาสตร์การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและท่องเที่ยว

1.
โครงการจัดซื้อถังรองรับขยะ
46,500.00
อบต.
2.
โครงการกำจัดขยะและสิ่งปฏิกูลภายในตำบล
441,480.00
อบต.
3.
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
186,000.00
อบต.
4.
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในตำบล
10,500.00
อบต.

          รวมงบประมาณ
684,480.00

       ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการที่ดี

1.
โครงการจัดส่งพนักงานส่วนตำบล, ลูกจ้างเข้ารับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้
77,900.00
อบต.
2.
โครงการจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ต่างๆ ภายในตำบล
7,471.00
อบต.
3.
โครงการให้บริการน้ำดื่มและอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนผู้มาติดต่อราชการ
17,600.00
อบต.
4.
โครงการพัฒนาการจัดเก็บรายได้ เช่น การบริหารจัดการ การจัดเก็บค่าขยะและ     ค่าน้ำประปา จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ วารสารการจัดเก็บรายได้และแผ่นพับวารสารเผยแพร่การบริหารงานทั่วไป ฯลฯ
5,417.00
อบต.
5.
โครงการผู้ว่าพบประชาชน
50,000.00
อบต.
6.
จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
161,203.00
อบต.
7.
จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์
10,560.00
อบต.
8.
จัดซื้อวัสดุงานบ้านงานครัว
22,186.00
อบต.
9.
จัดซื้อวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น
146,976.70
อบต.
10.
ค่าบำรุงรักษาหรือซ่อมแซมทรัพย์สิน
131,842.00
อบต.
11.
ค่าสาธารณูปโภค (ค่าไฟฟ้า อบต.ค่าโทรศัพท์,ค่าไปรณีย์,ค่าอินเตอร์เน็ต)
217,937.11
อบต.
12.
ค่าไฟฟ้ากิจการประปา
1,293,209.13
อบต.
13.
ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติราชการอันเป็นประโยชน์แก่ อบต.
4,900.00
อบต.
14.
สมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
135,720.00
อบต.
15.
สมทบประกันสังคมพนักงานจ้าง
87,168.00
อบต.

          รวมงบประมาณ
2,370,089.94


          รวมงบประมาณทั้งสิ้น
13,680,716.14

                   ๑.๒ การประเมินผลการนำแผนพัฒนาท้องถิ่นไปปฏิบัติในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
แผนพัฒนาตำบลในปีที่ผ่านมาการพัฒนาสามารถดำเนินการได้พอสมควร  แต่ยังไม่สามารถดำเนินการได้ในทุกโครงการ ด้วยข้อจำกัดด้านงบประมาณ ทำให้การดำเนินงานในเชิงปริมาณ การแปลงแผนพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ  สามารถดำเนินการอย่างจำกัด
จากการสอบถามความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี  เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้กำหนดเอาไว้
               ๒. ผลที่ได้รับจากการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙
                   ๒.๑ ผลที่ได้รับหรือผลที่สำคัญ
                          ผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมาภายใต้แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระชับ พ.ศ.๒๕๖๐- ๒๕๖๒ ในการแปลงแผนพัฒนาไปสู่การปฏิบัติเชิงปริมาณสามารถดำเนินการได้พอสมควรแต่ยังไม่สามรถดำเนินการได้ในทุกโครงการ เนื่องมาจากมีแผนงานโครงการและกิจกรรมในแผนพัฒนาตำบลจำนวนมาก แต่รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลที่จัดเก็บเอง และที่ส่วนราชการอื่นจัดเก็บให้และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล มีจำกัดไม่เพียงพอต่อการบริหารให้เป็นไปตามแผนพัฒนาได้ทั้งหมด
               ๓. สรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานที่ผ่านมาและแนวทางการแก้ไข ปีงบประมาณ
พ.ศ.๒๕๕๙
                   องค์การบริการส่วนตำบลท่ากระชับ  มีลักษณะที่ตั้งส่วนใหญ่เป็นชุมชน ชนบทที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร  มีประชาชนอาศัยอยู่หนาแน่นเป็นบางหมู่บ้าน ประชาชนในพื้นที่บางส่วนจะเข้าทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมนอกตำบล  คาดว่าจะมีสัดส่วนการขยายตัวของชุมชนเพิ่มมากขึ้นและจะมีปัญหาด้านอื่นๆ ตามมา จึงได้ริเริ่มกำหนดนโยบายในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน โดยการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานในการดำรงชีวิต และให้การบริการอื่น และกำหนดนโยบายเริ่มต้นให้ชุมชนสงบสุขน่าอยู่อาศัย โดยกระบวนการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี ผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมาภายใต้แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระชับ พ.ศ.๒๕๖๐- ๒๕๖๒ ในการแปลงแผนพัฒนาไปสู่การปฏิบัติเชิงปริมาณสามารถดำเนินการได้พอสมควรแต่ยังไม่สามรถดำเนินการได้ในทุกโครงการ เนื่องมาจากมีแผนงานโครงการและกิจกรรมในแผนพัฒนาตำบลจำนวนมาก แต่รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลที่จัดเก็บเอง และที่ส่วนราชการอื่นจัดเก็บให้และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล มีจำกัดไม่เพียงพอต่อการบริหารให้เป็นไปตามแผนพัฒนาได้ทั้งหมด ทำให้ประสิทธิผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผน แต่ส่วนหนึ่งก็สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้ประชาชนได้พอสมควร


                                     
ส่วนที่ ๓ ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
               ๑. ความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับมหภาค
                   ๑.๑ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่๓๐มิถุนายน๒๕๕๘เห็นชอบให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติมีอำนาจหน้าที่ในการจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ๒๐ปีเพื่อใช้ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืนและให้เสนอร่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ๒๐ปีให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบเพื่อใช้เป็นกรอบในการดาเนินงานในระยะที่๒ของรัฐบาล (ปี๒๕๕๘ -๒๕๕๙) และกรอบการปฏิรูปในระยะที่๓ (ปี๒๕๖๐เป็นต้นไป)ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน์และทำให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์นั้นจำเป็นจะต้องมีการวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาวและกำหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องกำหนดยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาวเพื่อถ่ายทอดแนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละช่วงเวลาอย่างต่อเนื่องและมีการบูรณาการและสร้างความเข้าใจถึงอนาคตของประเทศไทยร่วมกันและเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคมทั้งประชาชนเอกชนประชาสังคมในการขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อการสร้างและรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติและบรรลุวิสัยทัศน์ประเทศไทยมีความมั่นคงมั่งคั่งยั่งยืนเป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือคติพจน์ประจำชาติมั่นคงมั่งคั่งยั่งยืนเพื่อให้ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขันมีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วคนไทยมีความสุขอยู่ดีกินดีสังคมมีความมั่นคงเสมอภาคและเป็นธรรมซึ่งยุทธศาสตร์ชาติที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ๒๐ปีต่อจากนี้ไปจะประกอบด้วย๖ยุทธศาสตร์ได้แก่
 () ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
 () ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
 () ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
 () ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
() ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
() ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
โดยมีสาระสำคัญของแต่ละยุทธศาสตร์สรุปได้ดังนี้
..๑ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงมีเป้าหมายทั้งในการสร้างเสถียรภาพภายในประเทศและช่วยลดและป้องกันภัยคุกคามจากภายนอกรวมทั้งสร้างความเชื่อมั่นในกลุ่มประเทศอำเซียนและประชาคมโลกที่มีต่อประเทศไทยกรอบแนวทางที่ต้องให้ความสำคัญอาทิ

(๑) การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(๒) การปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการเมืองขจัดคอร์รัปชั่นสร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม
(๓) การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายในตลอดจนการบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล
(๔) การพัฒนาระบบกลไกมาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับและรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์กับประเทศมหาอำนาจเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงรูปแบบใหม่     
(๕) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ        
(๖) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
() การปรับกระบวนการทางานของกลไกที่เกี่ยวข้องจากแนวดิ่งสู่แนวระนาบมากขึ้น
..๒ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันเพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วซึ่งจาเป็นต้องยกระดับผลิตภาพการผลิตและการใช้นวัตกรรมในการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในสาขาอุตสาหกรรมเกษตรและบริการการสร้างความมั่นคงและปลอดภัยด้านอำหารการเพิ่มขีดความสามารถทางการค้าและการเป็นผู้ประกอบการรวมทั้งการพัฒนาฐานเศรษฐกิจแห่งอนาคตทั้งนี้ภายใต้กรอบการปฏิรูปและพัฒนาปัจจัยเชิงยุทธศาสตร์ทุกด้านอันได้แก่โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมการพัฒนาทุนมนุษย์และการบริหารจัดการทั้งในภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนกรอบแนวทางที่ต้องให้ความสำคัญอาทิ
(๑)   การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจได้แก่การรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและสร้าง
ความเชื่อมั่นการส่งเสริมการค้าและการลงทุนที่อยู่บนการแข่งขันที่เป็นธรรมและรับผิดชอบต่อสังคมตลอดจนการพัฒนาประเทศสู่ความเป็นชาติการค้าเพื่อให้ได้ประโยชน์จากห่วงโซ่มูลค่าในภูมิภาคและเป็นการยกระดับไปสู่ส่วนบนของห่วงโซ่มูลค่ามากขึ้น
(๒)   การพัฒนาภาคการผลิตและบริการบนฐานของการพัฒนานวัตกรรมและมีความ
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยมีการใช้ดิจิทัลและการค้าที่เข้มข้นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและขยายกิจกรรมการผลิตและบริการโดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศในระดับโลกและในระดับภูมิภาคในอุตสาหกรรมหลายสาขาและในภาคบริการที่หลากหลายตามรูปแบบการดาเนินชีวิตและการดาเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไปรวมทั้งเป็นแหล่งอำหารคุณภาพสะอาดและปลอดภัยของโลก
- ภาคเกษตรโดยเสริมสร้างฐานการผลิตให้เข้มแข็งและยั่งยืนเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของภาคเกษตรส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยให้ปรับไปสู่การทาการเกษตรยั่งยืนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและรวมกลุ่มเกษตรกรในการพัฒนาอำชีพที่เข้มแข็งและการพัฒนาสินค้าเกษตรที่มีศักยภาพและอาหารคุณภาพสะอาดและปลอดภัย
- ภาคอุตสาหกรรมโดยพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพยกระดับการพัฒนา
อุตสาหกรรมปัจจุบันที่มีศักยภาพสูงและพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคตที่มีศักยภาพโดยการใช้ดิจิทัลและการค้ามาเพิ่มมูลค่าและยกระดับห่วงโซ่มูลค่าในระดับสูงขึ้น
- ภาคบริการโดยขยายฐานการบริการให้มีความหลากหลายมีความเป็นเลิศและเป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยการยกระดับบริการที่เป็นฐานรายได้เดิมเช่นการท่องเที่ยวและพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการให้บริการสุขภาพธุรกิจบริการด้านการเงินและธุรกิจบริการที่มีศักยภาพอื่นๆเป็นต้น
(๓)   การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชนพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ
ยกระดับผลิตภาพแรงงานและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) สู่สากลและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและสถาบันเกษตรกร
(๔)   การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมืองพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและ
พัฒนาระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญจัดระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและมีส่วนร่วมมีการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับศักยภาพ
(๕)   การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในด้านการขนส่งด้านพลังงานระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและการวิจัยและพัฒนา
(๖)    การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลกสร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับ
นานาประเทศส่งเสริมความร่วมมือกับนานาชาติในการสร้างความมั่นคงด้านต่างๆเพิ่มบทบาทของไทยในองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงสร้างองค์ความรู้ด้านการต่างประเทศ
..๓ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนเพื่อพัฒนาคนและ
สังคมไทยให้เป็นรากฐานที่แข็งแกร่งของประเทศมีความพร้อมทางกายใจสติปัญญามีความเป็นสากลมีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลมีระเบียบวินัยเคารพกฎหมายมีคุณธรรมจริยธรรมรู้คุณค่าความเป็นไทยมีครอบครัวที่มั่นคงกรอบแนวทางที่ต้องให้ความสำคัญอาทิ
() การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ
() การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึง
() การปลูกฝังระเบียบวินัยคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมที่พึงประสงค์
() การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี
() การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทยเสริมสร้างบทบาทของสถาบัน
ครอบครัวในการบ่มเพาะจิตใจให้เข้มแข็ง
..๔ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคมเพื่อเร่งกระจายโอกาสการพัฒนาและสร้างความมั่นคงให้ทั่วถึงลดความเหลื่อมล้าไปสู่สังคมที่เสมอภาคและเป็นธรรมกรอบแนวทางที่ต้องให้ความสำคัญอาทิ
() การสร้างความมั่นคงและการลดความเหลื่อมล้าทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
() การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ
() การสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อการดารงชีวิตในสังคมสูงวัย
() การสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคมทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของชุมชน
() การพัฒนาการสื่อสารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนับสนุนการพัฒนา
..๕ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  เพื่อเร่งอนุรักษ์ฟื้นฟูและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและมีความมั่นคงด้านน้ารวมทั้งมีความสามารถในการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติและพัฒนามุ่งสู่การเป็นสังคมสีเขียวกรอบแนวทางที่ต้องให้ความสำคัญอาทิ
() การจัดระบบอนุรักษ์ฟื้นฟูและป้องกันการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ
() การวางระบบบริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพทั้ง๒๕ลุ่มน้าเน้นการปรับระบบ
                        การบริหารจัดการอุทกภัยอย่างบูรณาการ
() การพัฒนาและใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
() การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
() การร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัวให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(๗)  การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม
..๖ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจมีสมรรถนะสูงมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระจายบทบาทภารกิจไปสู่ท้องถิ่นอย่างเหมาะสมมีธรรมาภิบาลกรอบแนวทางที่ต้องให้ความสำคัญอาทิ
(๑)   การปรับปรุงโครงสร้างบทบาทภารกิจของหน่วยงานภาครัฐให้มีขนาดที่เหมาะสม
() การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ
() การพัฒนาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ
() การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
() การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต่างๆให้ทันสมัยเป็นธรรมและเป็นสากล
() การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
() การปรับปรุงการบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายของภาครัฐ
๑.๒     แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒
                   ๑) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
พัฒนาคนทุกช่วงวัยเพื่อให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยเฉพาะการพัฒนาและดูแลผู้สูงอายุที่จะมีสัดส่วนสูงขึ้นในสังคมสูงวัยทั้งการสร้างงานที่เหมาะสม การฟื้นฟูและดูแลสุขภาพเพื่อชะลอความทุพพลภาพและโรคเรื้อรัง การสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อสังคมสูงวัย มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพคนเพื่อเป็นฐานการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและรองรับการลดลงของขนาดกำลังแรงงาน โดยการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ การป้องกันและควบคุมปัจจัยทางสังคมที่กำหนดสุขภาพเพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี การสร้างความอยู่ดีมีสุขให้ครอบครัวไทย รวมทั้งการเสริมสร้างบทบาทของสถาบันทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมในการ
ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสังคม       
                   ๒) ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
มุ่งเน้นการลดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติเพื่อสร้างความปรองดองในสังคม การสร้างโอกาสให้ทุกคนในสังคมไทยสามารถเข้าถึงทรัพยากร แหล่งทุนในการประกอบอาชีพ เพื่อยกระดับรายได้และขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก การเข้าถึงบริการทางสังคมของรัฐอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง และเป็นธรรม อาทิ การสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคนได้เต็มตามศักยภาพสามารถประกอบอาชีพและดำรงชีวิตได้โดยมีความใฝ่รู้และทักษะที่เหมาะสม เน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างสัมมาชีพในพื้นที่ การจัดรูปแบบบริการสุขภาพและสวัสดิการทางสังคมขั้นพื้นฐานที่จำเป็นและเหมาะสมตามกลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาระบบบริการสาธารณะให้มีคุณภาพและมีช่องทางการเข้าถึงที่หลากหลาย รวมทั้งการพัฒนาระบบยุติธรรมชุมชนการเพิ่มศักยภาพกองทุนยุติธรรมเพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค ซึ่งจะนำไปสู่การ
ลดความยากจนและความเหลื่อมล้ำอันจะนำไปสู่การลดความขัดแย้งในสังคมไทย       
                   ๓) ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง โดยรวมถึงการปฏิรูปภาษีทั้งระบบเพื่อรักษาเสถียรภาพและเพิ่มประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจการปรับโครงสร้างทั้งห่วงโซ่คุณค่าในภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ การลงทุน เพื่อต่อยอดการสร้างมูลค่าเพิ่มของสาขาการผลิตและบริการที่เป็นฐานการเติบโตทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน พร้อมทั้งวางรากฐานการพัฒนาทุนมนุษย์ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมรวมทั้งกฎระเบียบเพื่อสร้างความเข้มแข็งของสาขาการผลิตและบริการใหม่ และเศรษฐกิจดิจิทัลภายใต้เงื่อนไขการรักษาสิ่งแวดล้อมและการใช้ประโยชน์จากศักยภาพของพื้นที่โดยเฉพาะภาคการผลิตและบริการที่มีศักยภาพที่จะเป็นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาประเทศในอนาคต เช่น อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรและอาหาร อุตสาหกรรมและบริการสร้างสรรค์ อุตสาหกรรมบนฐานชีวภาพ อุตสาหกรรมอากาศยาน อุตสาหกรรมระบบราง อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ธุรกิจบริการสุขภาพ ธุรกิจบริการทางการเงิน ธุรกิจการจัดประชุมและนิทรรศการนานาชาติ ธุรกิจภาพยนตร์ การศึกษานานาชาติ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว
ศูนย์ปฏิบัติการประจำภูมิภาคเป็นต้น       
                    ทั้งนี้ โดยจะให้ความสำคัญกับรูปแบบการพัฒนาในรูปคลัสเตอร์ การสร้างความเชื่อมโยงการผลิตและบริการ การพัฒนา SMEs และการสร้างผู้ประกอบการและเกษตรกรรุ่นใหม่ รวมถึงการสร้างศักยภาพของลูกหลานเกษตรกร โดยจะต้องพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ทั้งทุนมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม การบริหารจัดการและการปรับปรุงกฎระเบียบเพื่ออำนวยความสะดวกต่อการค้า การลงทุน เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศสู่ความเป็นชาติการค้า อันจะเป็นการสนับสนุนให้เศรษฐกิจในภาพรวมขยายตัวได้ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๕ ซึ่งเป็นปฐมบทของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยเข้าสู่การเป็นประเทศรายได้สูง ที่มีการพัฒนาที่ยั่งยืนภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว       
          ๔) ยุทธศาสตร์ด้านการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
มุ่งอนุรักษ์ฟื้นฟูสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม บริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ ภายใต้ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อมโดยเร่งรัดแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ ๒๐ตามเป้าหมายระยะยาว พัฒนาการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ลดการใช้พลังงาน เพื่อปรับตัวไปสู่รูปแบบของการผลิตและการบริโภคคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น รวมทั้งยกระดับความสามารถในการป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ทั้งนี้เพื่อวางรากฐานและสนับสนุนให้ประเทศมีการเติบโตทาง
เศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน
            ) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคั่งและยั่งยืน 
ให้ความสำคัญกับความมั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพให้ประเทศสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีสาระครอบคลุม ดังนี้ (๑) สถาบันหลักของชาติให้ดำรงอยู่อย่างมั่นคงเป็นจุดยึดเหนี่ยวของสังคม (๒) ความสามัคคีของคนในชาติ ลดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติ และสร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม (๓) ความสงบสุขและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในทุกพื้นที่ (๔) การบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนชายฝั่งทะเล เสริมสร้างและพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ในการแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคง (๕) สร้างความเชื่อมั่นและพัฒนาความร่วมมือในกลุ่มประเทศอาเซียนและประชาคมโลกเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติ ให้สามารถป้องกันแก้ไขปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ ภัยก่อการร้าย (๖) เสริมสร้างความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศและไซเบอร์ (๗) รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และปกป้อง รักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (๘) เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พลังงานและน้ำ โดยการกำหนดแนวทางบริหารจัดการ (๙) เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ การรักษาความสงบภายใน และความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งพัฒนาระบบข่าวกรองให้มีประสิทธิภาพ (๑๐) พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ(๑๑) การบริหารจัดการยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ให้เกิดผลในทางปฏิบัติในระดับพื้นที่ได้อย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
รวมทั้งสนับสนุนงานศึกษา วิจัย พัฒนาด้านความมั่นคง
                             ๖) ยุทธศาสตร์ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ
เพื่อให้การบริหารจัดการภาครัฐมีความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบและตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรมรวมทั้งประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอำนาจ และแบ่งภารกิจรับผิดชอบที่เหมาะสมระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น โดยมีประเด็นการพัฒนาสำคัญ ประกอบด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การปรับปรุงการให้บริการภาครัฐผ่านเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) การปรับปรุงกระบวนการงบประมาณ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการติดตามตรวจสอบการเงินการคลังภาครัฐ การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นโดยการปรับโครงสร้างการบริหารงานท้องถิ่นให้เอื้อต่อการกระจายอำนาจที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น เพื่อให้ประเทศไทยปราศจากการคอร์รัปชั่น ซึ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ให้ประสบผลสำเร็จและบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ตามกรอบในอนาคตประเทศไทยปี ๒๕๗๗
                   ๗) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ จะมุ่งเน้นการพัฒนากายภาพโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่ง การเชื่อมโยงเครือข่ายโทรคมนาคม และการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่เมืองการเชื่อมโยงการเดินทางและขนส่งสินค้าระหว่างประเทศที่ได้มาตรฐาน การพัฒนาความมั่นคงด้านพลังงานและการผลิตพลังงานทดแทน การสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิตอลการลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ห่างไกล และการใช้ประโยชน์จากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสร้างอุตสาหกรรมใหม่ของประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมระบบราง อุตสาหกรรมซ่อมบารุงและการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน รวมทั้งการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ทั้งในด้านการส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการสร้างเครือข่ายการขนส่งระหว่างประเทศ การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์และการปรับปรุงระบบบริหารจัดการ กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการขนส่งจากถนนสู่รางเป็นหลัก
                             ๘) ยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
ให้ความสำคัญกับการขับเคลื่อนการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ทั้งการเพิ่มการลงทุนวิจัยและพัฒนา และการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ฯ ทั้งด้านบุคลากรวิจัย โครงสร้างพื้นฐาน และการบริหารจัดการ เพื่อมุ่งให้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศในมิติต่างๆ ทั้งการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปนำไปสู่ศักยภาพการแข่งขันที่สูงขึ้น เสริมสร้างสังคมที่มีตรรกะทางความคิด มีทุนทางปัญญา เพื่อเป็นรากฐานการดำรงชีวิตที่มีความสุขของคนไทย บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่ความสมดุล อันจะนำมาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน รวมทั้งเพื่อแก้ไขปัญหาและยกระดับความเจริญให้กับภาคส่วนต่างๆทั้งเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดกลไกบูรณาการระหว่างหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อันจะสนับสนุนให้ประเทศไทยก้าวสู่การแข่งขันในศตวรรษหน้าโดยหลุดพ้นจากกับดัก
ประเทศรายได้ปานกลาง และก้าวไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูงในอนาคต
                              ๙) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ศักยภาพ โอกาสและข้อจำกัดของพื้นที่ รวมทั้งความต้องการของภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาฐานเศรษฐกิจเดิมให้เข้มแข็งโดยมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากลสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจและความเจริญสู่ภูมิภาค พัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาคให้เป็นเมืองน่าอยู่และปลอดภัย สนับสนุนการเชื่อมโยงในภูมิภาคเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของพื้นที่และสร้างความอยู่ดีมีสุขให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง โดยมีสาระครอบคลุม ดังนี้ (๑) การพัฒนาภาค (๒) การพัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาค (๓) การพัฒนาพื้นที่ฐานเศรษฐกิจหลักบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก และ (๔) การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน รวมทั้งความเชื่อมโยงกับการพัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรมและบริการที่มีศักยภาพ และโครงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึกทวาย     

                   ๑๐) ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และภูมิภาค
กำหนดยุทธศาสตร์การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน ภูมิภาค ให้เกิดการประสานและพัฒนาความร่วมมือกันระหว่างประเทศ ทั้งในเชิงรุกและรับอย่างสร้างสรรค์ โดยมุ่งเน้นการดูแลการดำเนินงานตามข้อผูกพันและพันธกรณีตลอดจนมาตรฐานต่างๆ ที่ไทยมีความเกี่ยวข้องในฐานะประเทศสมาชิก ทั้งในเวทีระดับโลก ระดับภูมิภาค และระดับอนุภูมิภาค อาทิ การดำเนินงานเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การประมง การค้ามนุษย์ และอื่นๆ ให้เข้าสู่มาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับของประชาคมโลก เป็นต้น การเตรียมความพร้อมในการรองรับและดำเนินงานของประเทศไทยภายหลังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ (Post-ASEAN 2015) การปรับตัวและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพื่อรองรับและสอดคล้องกับการดำเนินงานตามพันธกรณีของความร่วมมือระดับภูมิภาค อาทิ Regional Comprehensive Economic Partnerships (RCEP) เป็นต้น การเสริมสร้างความเชื่อมโยงกันระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาค และการส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ การให้บริการทางการศึกษา การให้บริการด้านการเงิน การให้บริการด้านสุขภาพ การให้บริการด้านโลจิสติกส์และการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งเป็นฐานความร่วมมือในเอเชีย
                   ๑.๓ แผนพัฒนาภาค/แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/แผนพัฒนาจังหวัด

ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดนครปฐม ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๔)
       วิสัยทัศน์ (Vision)กลุ่มจังหวัด
          เมืองเกษตรและอุตสาหกรรมปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ศาสนา วัฒนธรรมศูนย์กลางการศึกษา และประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
พันธกิจ 
(๑) ส่งเสริมพัฒนามาตรฐานด้านคุณภาพและความปลอดภัยของผลผลิตทางการเกษตรและ
อุตสาหกรรมตลอดห่วงโซ่คุณค่า
(๒) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ศาสนา และวัฒนธรรมให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยว
(๓) พัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงทางสังคม ยกระดับคุณภาพการศึกษา และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน



ประเด็นยุทธศาตร์
๓ ประเด็นยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
๑๒  กลยุทธ์
๑. พัฒนาการจัดการห่วงโซ่
คุณค่าสินค้าเกษตร อาหารปลอดภัย และส่งเสริมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
. มูลค่าสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศได้รับการส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง
๑. พัฒนาศักยภาพเกษตรกร ปัจจัยพื้นฐาน และเทคโนโลยีนวัตกรรมที่เอื้อต่อการผลิต
๒. พัฒนามาตรฐานการผล ต การแปรรูป การลดต้นทุน และส่งเสริมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
๓. สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลผลิตและพัฒนาความแตกต่างของผลิตภัณฑ์
๔. ส่งเสริมการค้า การตลาด และเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ประกอบการทั้งในและต่างประเทศ
๒. ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ศาสนา และวัฒนธรรมให้มี
คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยว
๒. การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ศาสนาและวัฒนธรรมได้รับการพัฒนา
และยกระดับให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยว
๕. พัฒนาโครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานที่เอื้อต่อการท่องเที่ยว และพัฒนาแหลงท่องเที่ยว
กิจกรรมสินค้าด้านการท่องเที่ยว
๖. พัฒนามาตรฐานและบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ
๗. พัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงรุก

๓. พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงทางสังคม ยกระดับคุณภาพการศึกษา
และบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
๓. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีสังคมเข้มแข็ง การศึกษามีคุณภาพ
และมีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
๘. พัฒนาโครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานรองรับเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตที่ดี
๙. เสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินของประชาชน และสร้างความเข้มแข็งทางสังคม
๑๐. พัฒนาการให้บริการทางการศึกษาและสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ
๑๑. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน



                   ๑.๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด

กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในเขตจังหวัดนครปฐม
ยุทธศาสตร์ที่ ๑         การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา  และวัฒนธรรม
แนวทางการพัฒนาที่ ๑  พัฒนาการศึกษาและส่งเสริมระบบการศึกษาอย่างยั่งยืน
- พัฒนาระบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและส่งเสริม  การศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย    และส่งเสริมความเสมอภาคในการศึกษา
                   - พัฒนาศักยภาพทางการศึกษา ส่งเสริมทักษะสู่ความเป็นเลิศของประชาคมอาเซียน
                   แนวทางการพัฒนาที่ ๒ ส่งเสริมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ  พระบรมวงศานุวงศ์ 
                                                งานราชพิธี  และงานรัฐพิธี
แนวทางการพัฒนาที่ ๓  ส่งเสริม สนับสนุน แหล่งการเรียนรู้ ช่องทางการรับรู้ข่าวสาร
แนวทางการพัฒนาที่ ๔  ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแพร่ และการปฏิบัติด้านคุณธรรมทางศาสนา จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 
แนวทางการพัฒนาที่ ๕ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและศาสนสถาน
แนวทางการพัฒนาที่ ๖ ส่งเสริม สนับสนุน การเฝ้าระวังทางวัฒนธรรมในครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน
§  ยุทธศาสตร์ที่ ๒         การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
แนวทางการพัฒนาที่ ๑  พัฒนา ส่งเสริม และฝึกอบรมอาชีพให้ประชาชน
- สร้างทักษะ พัฒนาฝีมือกลุ่มอาชีพ พร้อมรองรับประชาคมอาเซียน
- สร้างเครือข่ายในการพัฒนาอาชีพควบคู่ภูมิปัญญาท้องถิ่น
แนวทางการพัฒนาที่ ๒ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิต/ผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย
จากสารพิษ ผลิตภัณฑ์ชุมชน และอุตสาหกรรม SME
                   แนวทางการพัฒนาที่ ๓ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาเศรษฐกิจตามหลักปรัชญาของ
                                                เศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการพัฒนาที่ ๔ส่งเสริมการพัฒนาพลังงาน พลังงานทดแทน และการประหยัดพลังงาน

§  ยุทธศาสตร์ที่ ๓         การพัฒนาด้านสังคม
แนวทางการพัฒนาที่ ๑  ส่งเสริม สนับสนุนกีฬาและนันทนาการ
แนวทางการพัฒนาที่ ๒  ส่งเสริม สนับสนุนกิจการสาธารณสุข
แนวทางการพัฒนาที่ ๓  ป้องกัน ต่อต้าน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
แนวทางการพัฒนาที่ ๔  ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาสังคม และงานสวัสดิการสังคม
แนวทางการพัฒนาที่ ๕  การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง และ
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
                   แนวทางการพัฒนาที่ ๖  ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาประสิทธิภาพในการบรรเทาสาธารณภัย
แนวทางการพัฒนาที่ ๗เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
แนวทางการพัฒนาที่ ๘  การเสริมสร้างความสมานฉันท์ในสังคมและความสามัคคี
§  ยุทธศาสตร์ที่ ๔         การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการท่องเที่ยว
                   แนวทางการพัฒนาที่ ๑พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน พลังงานทดแทน ทรัพยากรธรรมชาติ
                                                สิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ การลดปริมาณขยะ และมลภาวะ
แนวทางการพัฒนาที่ ๒  บำรุงรักษาแม่น้ำลำคลอง แหล่งน้ำต่างๆ และการป้องกันน้ำท่วม
และน้ำเสีย
แนวทางการพัฒนาที่ ๓  การดูแลรักษา และพัฒนาที่สาธารณะ
แนวทางการพัฒนาที่ ๔  พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และ
เชิงสุขภาพ
แนวทางการพัฒนาที่ ๕  พัฒนา ส่งเสริม พื้นที่ที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวให้เป็น
แหล่งท่องเที่ยวใหม่
แนวทางการพัฒนาที่ ๖  การเตรียมความพร้อมในการรองรับภัยพิบัติทางธรรมชาติ
§  ยุทธศาสตร์ที่ ๕         การพัฒนาด้านการบริหารจัดการที่ดี
                   แนวทางการพัฒนาที่ ๑  พัฒนาการบริหารจัดการที่ดีในองค์กร โดยยึดหลักการบริหาร
                                                กิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
                                                ของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น และส่งเสริมการปกครอง
                                                ในระบอบประชาธิปไตย
แนวทางการพัฒนาที่ ๒  ส่งเสริมธรรมาภิบาล การป้องกันและปราบปรามการทุจริต และ
                             ประพฤติมิชอบในการปฏิบัติราชการ
แนวทางการพัฒนาที่ ๓  ส่งเสริมสวัสดิการแก่ผู้บริหาร และผู้ช่วยเหลือ อปท. สมาชิกสภา อปท.
                             ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงาน
แนวทางการพัฒนาที่ ๔ปรับปรุง พัฒนาขีดสมรรถนะและวัฒนธรรมการทำงานของบุคลากร
                                                - เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และพัฒนาประสิทธิภาพหน่วยงาน
                                                  สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
แนวทางการพัฒนาที่ ๕สนับสนุนการปฏิบัติงาน ปรับปรุง และพัฒนาระบบเทคโนโลยี-สารสนเทศ เครื่องมือเครื่องใช้ และอาคารสถานที่
แนวทางการพัฒนาที่ ๖  ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจการท้องถิ่น
แนวทางการพัฒนาที่ ๗ปรับปรุง พัฒนารายได้ และจัดการสินทรัพย์ราชการที่ไม่ได้ใช้งาน
                                ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แนวทางการพัฒนาที่ ๘ เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบภายใน
แนวทางการพัฒนาที่ ๙ สนับสนุน ส่งเสริมการดำเนินงานพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ
                             กระบวนการยุติธรรมชุมชน  และการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี
§  ยุทธศาสตร์ที่ ๖         การพัฒนาด้านการบริการสาธารณะ
แนวทางการพัฒนาที่ ๑  ก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน สะพาน ทางเท้าเส้นทางจักรยาน
ท่อระบายน้ำ  ท่าเทียบเรือ  ระบบการจัดการขยะ  ระบบบำบัดน้ำเสีย
และซ่อมแซมปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคที่ได้รับความเสียหาย
แนวทางการพัฒนาที่ ๒  พัฒนาระบบจราจรและการคมนาคมขนส่ง
แนวทางการพัฒนาที่ ๓  พัฒนาระบบไฟฟ้า ประปา และระบบโทรคมนาคม
แนวทางการพัฒนาที่ ๔ส่งเสริม  สนับสนุน การจัดทำผังเมือง  ผังเมืองรวม  ผังเมืองเฉพาะ
                             และป้องกันการบุกรุกที่สาธารณประโยชน์
แนวทางการพัฒนาที่ ๕พัฒนาแหล่งน้ำคูคลอง และระบบชลประทาน เพื่อการอุปโภค-
                             บริโภค  การเกษตร และอื่น ๆ








               . ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๒.๑     วิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระชับ
“มุ่งมั่นพัฒนาให้ได้มาตรฐาน บริหารงานให้ได้ผล จุดมุ่งหมายคือตำบล
ประชาชนได้รับคุณค่า ในการพัฒนาที่ยั่งยืน
๒.๒    ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
แผนงาน
๑. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน


. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ


๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๔. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม





. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว

. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการที่ดี
-แผนงานเคหะและชุมชน
-แผนงานการพาณิชย์
- แผนงานการเกษตร

- แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
- แผนงานการเกษตร

- แผนงานการศึกษา
- แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ

-แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
-แผนงานสาธารณสุข
-แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
-แผนงานสังคมสงเคราะห์
- แผนงานงบกลาง
-แผนงานการรักษาความสงบภายใน

- แผนงานการเกษตร
-แผนงานเคหะและชุมชน

- แผนงานบริหารงานทั่วไป
- แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
               . การวิเคราะห์เพื่อพัฒนาท้องถิ่น
                   ๓.๑ การวิเคราะห์กรอบการจัดทำยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การวิเคราะห์องค์กรเพื่อกำหนดกลยุทธ์นั้น เทคนิคสำคัญที่นิยมมาใช้ เทคนิควิเคราะห์ศักยภาพองค์กร  (SWOTanalysis) เพราะ SWOT จะมีส่วนช่วยในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ นำมาสู่การปรับปรุงภารกิจขององค์กรก่อให้เกิดการสนทนาอย่างพินิจพิเคราะห์และลงในรายละเอียดของวัตถุประสงค์กลยุทธ์ที่ใช้ เป้าหมาย และแผนปฏิบัติซึ่งสามารถอธิบายความสัมพันธ์ในเชิงองค์ประกอบของการวางแผน ซึ่งการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสพัฒนาในอนาคตขององค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระชับมีดังนี้
๑. การประเมินภายในหรือศักยภาพขององค์กร (Internal assessment of the organization) โดยศึกษาวิเคราะห์
(๑.๑)จุดแข็ง(Strength)ศึกษาพัฒนาเชิงแนวคิดและกระบวนทัศน์คนในองค์กร รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ เป็นต้น
-  มีการจัดโครงสร้างภายในที่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจ
-  การบริหารจัดการยึดหลักธรรมมาภิบาล
-  มีการแบ่งงาน/มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ
-  มีการจัดเก็บข้อมูลในการดำเนินการ
-  บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่และได้รับการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องการบริหารงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ   
-  มีกลุ่มต่าง ๆ ในหมู่บ้าน  เช่น กลุ่มออมทรัพย์  กลุ่มสวัสดิการ กลุ่มอาชีพสตรี กลุ่มกีฬา
ฯลฯ
-  มีทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้อต่อการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม  และพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวในอนาคต
(๑.๒)   จุดอ่อน(Weakness) ศึกษากระบวนการพัฒนาที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงทางการพัฒนา รวมทั้งสภาพของข้อจำกัดเชิงแนวคิด การบริหารจัดการ ข้อจำกัดที่ทำให้องค์กรไม่บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ โดยวิเคราะห์จุดที่เป็นอุปสรรคและถือเป็นจุดอ่อนที่ต้องแก้ไขเช่น
                   - งบประมาณไม่เพียงพอต่อการพัฒนา




          ๒. การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก (External Assessment of the Environment)
          (๒.๑)   โอกาส (Opportunities) วิเคราะห์ความต้องการหรือทิศทางการพัฒนา โอกาสในความเปลี่ยนแปลง และแหล่งทรัพยากรใหม่ๆ ความต้องการใหม่ๆ อีกทั้งศึกษาองค์ความรู้ใหม่ๆ ด้านเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้
-นโยบายของรัฐบาล/จังหวัด ที่สนับสนุนการส่งออกสินค้าการเกษตรอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลท่ากระชับ
          (๒.๒) ภาวะคุกคาม หรืออุปสรรค (Threats) ศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงและกระบวนการพัฒนาที่เป็นปัจจัยขัดขวาง หรือปัญหาอุปสรรคในความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรหรือเป้าหมายงาน อีกทั้งวิเคราะห์ถึงนโยบายและการเปลี่ยนแปลงในระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ อันเป็นปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบต่อองค์กร เช่นการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่

                   ๓.๒ การประเมินสถานการณ์สภาพแวดล้อมภายนอกที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาตำบลในปีที่ผ่านมาการพัฒนาสามารถดำเนินการได้พอสมควร  แต่ยังไม่สามารถดำเนินการได้ในทุกโครงการ ด้วยข้อจำกัดด้านงบประมาณ ทำให้การดำเนินงานในเชิงปริมาณ การนำแผนพัฒนาไปสู่การปฏิบัติสามารถดำเนินการอย่างจำกัด
















ส่วนที่ ๔ การนำแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีไปสู่การปฏิบัติ 
               ๑. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนงาน

ที่
ยุทธศาสตร์
ด้าน
แผนงาน
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
หน่วยงานสนับสนุน
๑.
ยุทธศาสตร์           การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

-ด้านบริการชุมชนและสังคม
-ด้านการเศษฐกิจ
-แผนงานเคหะและชุมชน

-แผนงานการพาณิชย์
-แผนงานการเกษตร
กองช่าง
สำนักปลัด/กองคลัง
๒.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
-ด้านการเศษฐกิจ

-ด้านบริการชุมชนและสังคม
-แผนงานการเกษตร

-แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
สำนักปลัด
กองช่าง/
กองคลัง
๓.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
-ด้านบริการชุมชนและสังคม
-ด้านบริการชุมชนและสังคม
-แผนงานการศึกษา

-แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
สำนักปลัด
กองช่าง/
กองคลัง
๔.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม
-ด้านบริการชุมชนและสังคม





- ด้านการดำเนินงานอื่น

-ด้านบริหารทั่วไป
-แผนงานการศาสนาวัฒนธรรมและนันทนาการ
-แผนงานสาธารณสุข
-แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
-แผนงานสังคมสงเคราะห์

- แผนงานงบกลาง

-แผนงานการรักษาความสงบภายใน
สำนักปลัด
กองช่าง/
กองคลัง
๕.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม
-ด้านการเศษฐกิจ

-ด้านบริการชุมชนและสังคม
-แผนงานการเกษตร

-แผนงานเคหะและชุมชน

สำนักปลัด
กองช่าง/
กองคลัง
๖.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการที่ดี
-ด้านบริหารทั่วไป

-ด้านบริการชุมชนและสังคม
-แผนงานบริหารงานทั่วไป

-แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
สำนักปลัด
กองช่าง/
กองคลัง
รวม
๑๑






ไม่มีความคิดเห็น: